ข้อมูลพื้นฐาน
วิทยาลัยการอาชีพเซกา
- ปรัชญา เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ วิสัยทัศน์? พันธกิจ? ของสถานศึกษา
?????????? ปรัชญาวิทยาลัยการอาชีพเซกา??
? ? ? ? ? ? ? ? ??ทักษะเลิศล้ำ? คุณธรรมนำหน้า? พัฒนาสังคม?
?????????? เอกลักษณ์
? ? ? ? ? ? ? ? ??วิทยาลัยอาชีพของชุมชน?
?????????? อัตลักษณ์
? ? ? ? ? ? ? ? ??อาชีวะบริการ(R-Services)?
?????????? อัตลักษณ์คุณธรรม
? ? ? ? ? ? ? ? ??มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา จิตสาธารณะ?
?????????? วิสัยทัศน์วิทยาลัยการอาชีพเซกา
? ? ? ? ? ? ? ? ??เป็นสถานศึกษา ผลิตพัฒนากำลังคนด้านวิชาชีพ ให้มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน สู่ศตวรรษที่ 21?
?????????? พันธกิจวิทยาลัยการอาชีพเซกา??
? ? ? ? ? ? ? ? ?1.ผลิตและพัฒนาผู้สำเร็จการศึกษาที่มีคุณภาพตรงตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา
? ? ? ? ? ? ? ? ?2.พัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนการสอนให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน
? ? ? ? ? ? ? ? ?3.พัฒนาศักยภาพครู บุคลากรทางการศึกษาให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง
? ? ? ? ? ? ? ? ?4.ส่งเสริมประสิทธิภาพ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และงานวิจัย และสร้างเครือข่ายความร่วมมือบริการวิชาชีพทั้งในและต่างประเทศภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
? ? ? ? ? ? ? ? ?5.พัฒนาระบบบริหารจัดการปัจจัยพื้นฐานตามหลักธรรมาภิบาล แนวทางสถานศึกษาคุณธรรม และระบบดิจิทัล สู่ศตวรรษที่ 21
?????????? เป้าประสงค์??
- กำลังคนผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานที่มีความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะทาง
- ผู้สำเร็จการศึกษามีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามมาตรฐานผู้สำเร็จการศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 3? ด้าน? ด้านสมรรถนะทั่วไป ด้านสมรรถนะวิชาชีพ และด้านคุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน
- มีหลักสูตรในการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายและมีความยืดหยุ่น สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน
- ครูและบุคลากรทางการศึกษาอาชีวศึกษามีศักยภาพในการพัฒนากำลังคนด้านอาชีวศึกษา
- จำนวนนวัตกรรมงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ เทคโนโลยี ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีการนำไปใช้ในการเรียนการสอนและชุมชนเพิ่มผลผลิตรองรับการพัฒนาประเทศ
- ช่องทางการเผยแพร่นวัตกรรมงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ เทคโนโลยี รองรับการพัฒนาประเทศ ยุคศตวรรษที่ 21
- พัฒนาความร่วมมือกับทุกภาคส่วน เพื่อเพิ่มศักยภาพกำลังคนด้านอาชีวศึกษาให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป และสมรรถนะวิชาชีพ สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาประเทศ
- มีระบบสารสนเทศทางการศึกษาด้านอาชีวศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้องทันสมัย และเป็นปัจจุบัน ในการวางแผน การบริหารจัดการ การติดตามและประเมินผลอาชีวศึกษา
- ระดับความพึงพอใจของบุคลากรและหน่วยงานของวิทยาลัยมีความพึงพอใจในการรับบริหารเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศในระดับมาก
- วิทยาลัยการอาชีพเซกา? สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามีระบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษาที่มีประสิทธิภาพภายใต้หลักธรรมาภิบาลและอัตลักษณ์คุณธรรม
- เครือข่ายความร่วมมือในการบริหารจัดการอาชีวศึกษาสอดคล้องกับภารกิจของสถานศึกษาและตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน
- ผู้เรียนอาชีวศึกษาสามารถดำรงชีวิตอย่างมีความสุขตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
- จุดเน้นในการพัฒนาสถานศึกษา และความโดดเด่น
?????????? จุดเน้นในการพัฒนาสถานศึกษา?
- จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี? ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงทุกสาขางาน
- ให้บริการวิชาชีพแก่ชุมชน? และสังคม
?????????? ความโดดเด่นของสถานศึกษา?
- จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ระดับ 5 ดาว ปีการศึกษา 2557? สาขางานเทคนิคยานยนต์
- จัดการเรียนการสอนวิชาลูกเสือในสถานศึกษา รางวัลชนะเลิศระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
- ? รางวัลชนะเลิศอันดับ 3 การแข่งขันทักษะสาขาเครื่องยนต์เล็ก ปีการศึกษา 2557
กิจกรรมโครงการภายใต้พันธกิจ มาตรฐานสถานศึกษา
พันธกิจที่ 1 ผลิตและพัฒนาผู้สำเร็จการศึกษาให้มีคุณภาพตรงตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา?(ม.1)
1. โครงการลดปัญหาการออกกลางคัน
2. โครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม
3. โครงการการปรับปรุงห้องพยาบาล
4. โครงการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์
5. โครงเพิ่มประสิทธิภาพระบบฐานข้อมูล กำลังคนอาชีวศึกษา V-COP
6. โครงการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนดูแลผู้เรียน
– โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบดูแลผู้เรียน
– โครงการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาและจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความ
7. ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
– โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
– โครงการรณรงค์วันงดสูบบุหรี่โลก
– โครงการตรวจสุขภาพและสารเสพติดนักเรียนนักศึกษา
– โครงการอบรมแกนนำนีกเรียนนักศึกษาเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
8. โครงการปลูกฝังจิตสำนึกการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
– โครงการการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
– โครงการวันสิ่งแวดล้อมโลก
– โครงการรวมตัวเยาวชนจิตอาสาเพื่อพัฒนาชุมชน
9. โครงการพัฒนาผู้เรียนด้วยองค์การวิชาชีพ
– โครงการพัฒนาผู้เรียนด้วยองค์การวิชาชีพ
– โครงการแนะแนวเส้นทางสู้อาชีพ
10. โครงการกิจกรรมประเพณี และวันสำคัญ
– วันไหว้ครู
– วันปิยมหาราช
– วันแม่แห่งชาติ
– วันสมเด็จพระมหาธีราชเจ้า
– ส่งเสริมประเพณีลอยกระทง
– วันพ่อแห่งชาติ
– ประเพณีสงกรานต์รดน้ำดำหัว
11. โครงการดูแลความปลอดภัย นักเรียนนักศึกษาและสถานศึกษา
– โครงการสารวัตรนักเรียน ป.ป.ส
– โครงการร่วมใจขับขี่ปลอดภัยใส่หมวกกันน๊อก
12. โครงการกิจกรรมการแข่งขันกีฬา
– โครงการแข่งขันกีฬาภายใน
– โครงการแข่งขันกีฬาอาชีวศึกษาระดับ ภาค,ชาติ
13. โครงการกิจกรรมลูกเสือ
– โครงการเดินทางไกลอยู่ค่ายพักแรมและพิธีประดับแถบ 3 สี
– โครงการระเบียบแถวลูกเสือวิสามัญระดับ อศจ.
– กิจกรรมลูกเสือ Day Camp
– อบรมนายหมู่ลูกเสือวิสามัญ
14. โครงการการส่งเสริมการสร้างงานสร้างรายได้ระหว่างเรียน
พันธกิจที่ 2? พัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนการสอนให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน (ม.2)
1. โครงการขยายความร่วมมือกับภาครัฐและเอกชนเพื่อการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
2. โครงการนิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
3. โครงการแข่งทักษะวิชาชีพ ปีการศึกษา 2561 – 2562
4. โครงการส่งเสริมประกอบอาชีพอิสระในกลุ่มผู้เสนอโครงการ
5. โครงการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
– โครงการพัฒนาประสิทภืพการติดตามผู้สำเร็จการศึกษา
– โครงการปัจฉิมนิเทศนักเรียนนักศึกษา ปวช.3 และ ปวส.2
– โครงการแนะแนวศึกษาต่อ
– โครงการศึกษาความพึงพอใจของสถานประกอบการหน่วยงานชุมชนต่อผู้สำเร็จ การศึกษา
พันธกิจที่ 3? พัฒนาศักยภาพครู บุคลากรทางการศึกษาให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง?(ม.3)
1. โครงการพัฒนาสมรรถนครูและบุคลากร
– โครงการพัฒนาบุคลากรด้านเทคนิคการสอน การเขียนแผนการจัดการเรียนร็ PLC
– โครงการพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรด้านกีฬา
– อบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ
– โครงการส่งเสริมพัฒนาสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษา
– โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตบุคลากรเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานด้านการบริหารด้วยใจและสร้างความปรองดอง
2. โครงการสนับสนุนการปฏิบัติงานของครูและบุคลากร
– โครงการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ
– โครงการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
พันธกิจที่ 4? ส่งเสริมประสิทธิภาพ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และงานวิจัย และสร้างเครือข่ายความร่วมมือบริการวิชาชีพทั้งในและต่างประเทศภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง??(ม.3)
1. โครงการการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์และการแนะแนวเชิงรุก
2. อาชีวศึกษาร่วมด้วยช่วยประชาชน ?ตรวจรถก่อนใช้ ปลอดภัยแน่นอนเทศกาลปีใหม่
3. โครงการอาชีวะอาสา
4. โครงการขยายบทบาทศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน ( Fix It Center )
5. โครงการยกย่องเชิญชูเกียรติสถานประกอบการ ทั้งภาครัฐและเอกชนภายในประเทศและต่างประเทศ
6. โครงการเชิญบุคลากรระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการอาชีวศึกษา
7. โครงการประชุมคณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย เพื่อพิจารณากลั่นกรองและคัดเลือกหนังสือ
8. โครงการอบรม ๑๐๘ อาชีพ
9. โครงการสอนระยะสั้นหารายได้ให้กับชุมชน
10. Open house ประกวดนิทรรศการโครงการ/โครงการวิชาชีพ
11. รวมพลัง ลงมือทำ ตามรอยพ่อเศรษฐกิจพอเพียง
– โครงการรวมพลัง ลงมือทำ ตามรอยพ่อเศรษฐกิจพอเพียง
– โครงการรณรงค์ลดการใช้พลาสติก
12. โครงการส่งเสริมการพัฒนางานสร้างสรรค์ นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ของครูและผู้เรียน
– โครงการส่งเสริมการพัฒนางานสร้างสรรค์ นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ของครูและผู้เรียน
– โครงการประกวดนำเสนอนวัตกรรมและสิ่งประดิ์ษของครูและนักเรียน ระดับ อศจ. ระดับภาค
?? พันธกิจที่? 5 พัฒนาระบบบริหารจัดการปัจจัยพื้นฐานตามหลักธรรมาภิบาลแนวทางสถานศึกษาคุณธรรม และระบบดิจิทัล สู่ศตวรรษที่ 21??(ม.3)
1. โครงการพัฒนาสถานศึกษา
2. โครงการบริหารจัดการความเสี่ยง
3. โครงการพัฒนาระบบเครือข่ายเพิ่มประสิทธิภาพระบบสารสนเทศเพื่อการบริการ
4. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเตีรยมความพร้อมและพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการประกันคุณภาพภายในสาขางาน
5. โครงการการควบคุมภายในของฝ่าย สาขางานและสถานศึกษา
6. โครงการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการระบบเครือข่ายของข้อมูลสารสนเทศ
7. จัดซื้อหนังสือพิมพ์ ? นิตยสาร วารสาร
8. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการส่งออกอากาศติดตั้งเสาส่งสัญญาณวิทยุเอฟ เอ็ม R-Radio Network ๘๘.๒๕ เมกะเฮิรตช์
9. โครงการพัฒนางานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
10. โครงการธรรมพระพุทธศาสนา
– โครงการธรรมยามเช้า
– วันมาฆบูชา
– โครงการอบรมคุณธรรมจริยธรรม
– โครงการเทียนพรรษา
– โครงการธรรมาภิบาล
– โครงกานสถานศึกษาคุณธรรม
11. โครงการ กิจกรรมดูแลรักษาความสะอาด
– โครงการ 5 ส. Big Cleaning Day
?
- ประวัติ ความเป็นมา? และข้อมูลด้านอาคารสถานที่
4.1? ประวัติความเป็นมา
วิทยาลัยการอาชีพเซกา? ได้รับประกาศจัดตั้งจากกระทรวงศึกษาธิการ? เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2540? สังกัดกองวิทยาลัยอาชีวศึกษา? กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ให้เปิดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) แผนกวิชาช่างยนต์และหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น? โดยใช้โรงฝึกงานของโรงเรียนเซกา? เป็นอาคารเรียนและสำนักงาน
ปีการศึกษา 2541? ได้ย้ายออกมาจากโรงเรียนมัธยมเซกา มาจัดการเรียนการสอน? ที่วิทยาลัยการอาชีพเซกา ปัจจุบัน? มีอาคารเรียนชั่วคราวอาคารโรงฝึกงานและอาคารเรียนปฏิบัติการ? อาคารโรงฝึกงาน 3 ชั้น? อย่างละ? 1 หลัง
ในปีการศึกษา 2543? ได้รับอนุมัติเปิดสอนแผนกวิชาใหม่ ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) แผนกวิชา คือแผนกวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง? แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจและระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เปิดสอนสาขาวิชาการบัญชี
ในปีการศึกษา 2546?? ได้เปิดหลักสูตร? ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง? (ปวส.)? แผนกวิชาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์
ในปีการศึกษา 2547?? ได้เปิดหลักสูตร? ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง? (ปวส.)แผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์
?
?4.2? ข้อมูลด้านอาคารสถานที่
วิทยาลัยการอาชีพเซกา? สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
Seka? Industrial And Community? Education College
ตั้งอยู่เลขที่ 99? หมู่ที่? 4? ถนนเซกา ? อากาศอำนวย ตำบลซาง อำเภอเซกา จังหวังบึงกาฬ รหัสไปรษณีย์? 38150
โทรศัพท์ : ??0 – 4249-0644
โทรสาร 😕 0 – 4249-0647
Web Site:?? Sekaicec.ac.th???? E-mail:? Sekaicec@hotmail.com
เนื้อที่ของวิทยาลัยการอาชีพเซกา?? มีขนาดพื้นที่? 100 ไร่
ทิศเหนือ? ? ? ? ? ? จดที่ดินเอกชนผู้ถือกรรมสิทธิ์? เอกชน
ทิศใต้? ? ? ? ? ? ? ? จดที่ดินเอกชนผู้ถือกรรมสิทธิ์? เอกชน
ทิศตะวันตก????? จดที่ถนนเซกา-อากาศอำนวย
ทิศตะวันออก??? จดที่ดินเอกชนผู้ถือกรรมสิทธิ์? เอกชน
ข้อมูลด้านอาคารสถานที่
ที่ | สถานศึกษา/ประเภทรายการ | หน่วยนับ | สิ่งก่อสร้างที่มีอยู่/ได้รับ/งบประมาณแล้ว | แบ่งพื้นที่สำหรับสาขาวิชา | ||||
หน่วยนับ | พื้นที่ ตารางเมตร | ได้รับ งปม.
ปี พ.ศ. |
เลขที่แบบ | |||||
หน่วย | ชั้น | |||||||
? 1. | อาคารสำนักงาน | หลัง | 1 | 1 | 202.5 | 2541 | อป.40-01 | สำนักงาน,เซิร์ฟเวอร์,ตุ้มโฮม |
? 2. | อาคารโรงฝึกงาน? 1? ชั้น (12*32? ม.) | หลัง | 1 | 1 | 576 | 2541 | อป.40-03 | ชย,ฝผ,ปกครอง |
? 3. | อาคารเรียนและปฏิบัติการ? 3? ชั้น (16*30 ม.) | หลัง | 1 | 3 | 3,000 | 2541 | 3419 | ชก,ชฟ,ชอ |
? 4. | อาคารเรียนและปฏิบัติการ? 3? ชั้น (16*30 ม.) | หลัง | 1 | 3 | 2,240 | 2541 | 3419 | บช,คอม,สามัญ |
? 5. | อาคารเรียนชั่วคราว | หลัง | 1 | 3 | 720 | 2541 | อป.40-02 | การเงิน,ฝว,ฝพ,โสต,ห้องสมุด |
? 6. | บ้านพักผู้อำนวยการ | หลัง | 1 | 1 | 85 | 2541 | 35401 | บ้านพักผู้อำนวยการ |
? 7. | บ้านพักครูเรือนแถว? 1? ชั้น? ขนาด? 2? หน่วย | หลัง | 2 | 1 | 168 | 2541 | กช.010 | บ้านพักรอง |
? 8. | รั้วคอนกรีตประกอบเหล็กดัด? พร้อมป้ายชื่อ | เมตร | 1 | – | 700 | 2538 | – | – |
? 9. | เสาธง สูง 7.10 เมตร ฐานคอนกรีตฉาบหินเกล็ดขัดมัน | ต้น | 1 | – | – | 2538 | อป.40-08 | – |
10. | ประตูรั้ว | ประตู | 1 | – | 4 | 2538 | – | ประตูหน้า |
11. | อาคารโรงอาหารอเนกประสงค์ | หลัง | 1 | 1 | 640 | 2541 | อป.40-04 | โรงอาหาร |
12. | ถนนคอนกรีตเสริมเหล็กหนา 12 ซม.กว้าง 6 ม.
ยาว 1,000 ม. |
เมตร | –
|
–
|
6,000 | 2543 | – | – |
13. | อาคารโรงฝึกงานแบบจั่วคู่ | หลัง | 1 | 1 | 944 | 2556 | – | ชย |
14. | บ้านพักครูชั่วคราว 5 ห้อง | หลัง | 1 | 1 | 80 | 2555 | – | บ้านพักครู |
15. | อาคารหอประชุม | หลัง | 1 | 1 | 1,000 | 2559 | – | หอประชุมใหญ่ |
16. | อาคารเรียน 4 ชั้น | หลัง | 1 | 4 | 1,960 | 2561 | – | อาคารเรียน |
?
4.3? สัญลักษณ์ของวิทยาลัยการอาชีพเซกา
พระพุทธรูปประจำวิทยาลัย
?พระพุทธรูปปางสมาธิ? |
ต้นไม้ประจำสถานศึกษา
?ต้นมันปลา หรือต้นกันเกรา? |
ตราประจำวิทยาลัย
|
สีประจำวิทยาลัย? น้ำเงิน ? ขาว
|
- ข้อมูลบุคลากร
วิทยาลัยการอาชีพเซกา
6.1? อัตรากำลัง? ปี 2562? ข้อมูล? ณ. วันที่? 1? สิงหาคม? 2562????
อัตรากำลังของวิทยาลัยการอาชีพเซกา?????? มีบุคลากรทั้งสิ้น? 59? คน
ก. | ข้าราชการ | 11 | คน | ||||
1 | ผู้บริหาร | 5 | คน | ||||
2 | ข้าราชการครู | 6 | คน | ||||
3 | ข้าราชการพลเรือน | – | คน | ||||
ข. | ลูกจ้างประจำ | – | คน | ||||
1 | ทำหน้าที่สอน | – | คน | ||||
2 | ทั่วไป/สนับสนุน | – | คน | ||||
ค. | พนักงานราชการ | 9 | คน | ||||
1 | ทำหน้าที่สอน | 9 | คน | ||||
2 | ทั่วไป/สนับสนุน/ | คน | |||||
ง. | ลูกจ้างชั่วคราว | 39 | คน | ||||
1 | ทำหน้าที่สอน | 15 | คน | ||||
2 | ทั่วไป/สนับสนุน/นศ.ฝึกสอน | 24 | คน | ||||
จ | มีข้าราชการ/ลูกจ้าง มาช่วยราชการ??????????? -??????????????????? | คน | |||||
ฉ | มีข้าราชการ/ลูกจ้าง ไปช่วยราชการที่อื่น????? -??????????????????? | คน | |||||
ช | ? มีอัตราว่าง ไม่มีคนครอง?????????????????????????????????????????????? | คน | |||||
1.? ข้าราชการ????????? -?? คน | |||||||
2.? ลูกจ้างประจำ????? -?? คน | |||||||
????? ข้อมูลบุคลากร จำแนกตามวุฒิการศึกษาลูกจ้าง????
– นร. |
ก. ครูผู้สอน
คน |
ข. เจ้าหน้าที่ทั่วไป/สนับสนุน
คน |
รวม
คน |
||
?- ต่ำกว่า ม.6 | ?คน | 8 คน | 8? คน | ||
?- ปวช./ม.6 | ?คน | ?คน | ? คน | ||
?- ปวส./อนุปริญญาตรี | ?คน | 9 คน | ?9 คน | ||
?- ปริญญาตรี | 15 คน | 7 คน | ?22 คน | ||
?- ปริญญาโท | ?คน | ? คน | ? คน | ||
?- ปริญญาเอก | ?คน | ? คน | ?คน | ||
รวม??? 15? คน | รวม | 24? คน | รวม | 39? คน |
6.3 ข้อมูลลูกจ้างชั่วคราว จำแนกตามแหล่งเงินที่จ้าง
ก. ครูผู้สอน | ข. เจ้าหน้าที่ทั่วไป/สนับสนุน | รวม | |||
– จ้างด้วยงบบุคลากร | -? คน | -? คน | -? คน | ||
– จ้างด้วยงบดำเนินงาน | -? คน | -? คน | -? คน | ||
– จ้างด้วยงบเงินอุดหนุน | 15? คน | 14? คน | 29? คน | ||
– จ้างด้วยเงินรายได้ (บกศ.) | ?-? คน | ? 10? คน | ?10? คน | ||
– จ้างด้วยเงินอื่น ๆ
|
? -? คน
|
-? คน | -? คน
|
||
รวม 15 คน | รวม | 24? คน | รวม | 39? คน |
?ข้อมูลบุคลากรทั้งหมด จำแนกตามหน้าที่ ความรับผิดชอบ
?ข้าราชการครู? รวม?? 11? คน (ข้าราชการครู และ ข้าราชการพลเรือน)
ชื่อ ? สกุล |
วุฒิการศึกษา |
ปฏิบัติหน้าที่ | |
สอนวิชา | สนับสนุน/ธุรการทั่วไป | ||
1.นางสาวเยาวลักษณ์ ชมภูวัฒนา | ป.โท เทคโนโลยีการศึกษา | ผู้อำนวยการ | |
2.นายสมจิต? ศรีหล้า | ป.โท คม.การบริหารการศึกษา | – | รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารทรัพยากร |
3.ว่าที่ร.ต.สุระศักดิ์? ชัยตาแสง | ป.โท กศ.ม.การบริหารการศึกษา | – | รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ |
4.นางสุรีรัตน์? จันธัมมา | ป.โท ศษ.ม. | – | รองผู้อำนวยการฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ |
5.นางสาวพิมพ์พิชชา? พูนประสิทธิ์ | ป.โท | – | รองผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา |
6.นายวัตรธนา? อังคุนันท์ | คอ.บ.วิศวกรรมเครื่องกล | ขับรถยนต์ | งานบุคลากร |
7.นายนิคม? จันทร์ใด | อ.ส.บ.? ไฟฟ้ากำลัง | ไฟฟ้าเบื้องต้น | งานวิจัยฯ |
8.นายประสบสุข?? อ้วนอ่อนตา | หัวหน้างานสื่อฯ | ||
9.นายเทียนชัย?? คำลิ้ม | วท.บ.คณิตศาสตร์ | คณิตศาสตร์ | หัวหน้างานครูที่ปรึกษา |
10.นางอรพรรณ?? เชื่อวงศ์พรหม | ป.ตรี คอมพิวเตอร์ธุรกิจระบบสารสนเทศ | คอมพิวเตอร์ | หัวหน้างานการเงิน |
11.นางสาวจิตตานันท์ นิพิฐชนะรักษ์ | ป.ตรี บัญชีบัณฑิต | การบัญชี | หัวหน้างานบัญชี |
?
?พนักงานราชการ??? รวม? 9 คน ?(ทำหน้าที่สอน ธุรการ ทั่วไป
ชื่อ – สกุล |
วุฒิการศึกษา |
ปฏิบัติหน้าที่ | |
สอนวิชา | สนับสนุน/ธุรการทั่วไป | ||
1. ?นายฤชุวี? วงษ์ภูธรณ์ | วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล | งานไฟฟ้ายานยนต์ | หัวหน้างานแนะแนว |
2. ?นางสาวพาวินี แก้วก่อง | บธ.บ? การบัญชี | การบัญชีต้นทุน 1 | หัวหน้างานสวัสดิการ |
3. ?นางสาวสุภากร? วังวิสัย | การขายเบื้องต้น | หัวหน้างานทะเบียน | |
4. ?นายวีรพันธ์ จันทร์ทอง | บธ.บ? คอมพิวเตอร์ธุรกิจ | ป.การเครื่องคอมพิวเตอร์ | หัวหน้างานพัฒนาหลักสูตรฯ |
5. ?นายสายัณห์ พ่วงนาง | คบ.อุตสาหกรรมศิลป์ | งานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน | หัวหน้างานอาชีวศึกษาทวิภาคี |
6. ?นายพรหมินทร์? พรศรี | คอ.ม.? อิเล็กทรอนิกส์ | ระบบเสียง | หัวหน้าสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ |
7. ?นายเทพเมธา? ฮาดดา | วท.บ.เทคโนโลยีอุตสาหกรรม | งานส่งกำลังยานยนต์ | หัวหน้าโครงการพิเศษ |
8. ?ว่าที่ ร.ต. สัญญา? ปัจสุริยะ | กศ.ม. บริหารการศึกษา | ห้องทฤษฏีไฟฟ้า | หัวหน้างานประชาสัมพันธ์ |
9. ?นายนรา? หอมหวล | กศ.ม. บริหารการศึกษา | เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น | หัวหน้างานอาคารและสถานที่ |
?
ลูกจ้างชั่วคราว?? 39? คน? รวม (ทำหน้าที่สอน ธุรการ ทั่วไป)
ครูพิเศษ สอน จำนวน 15 คน
ชื่อ – สกุล |
วุฒิการศึกษา |
ปฏิบัติหน้าที่ | |
สอนวิชา | สนับสนุน/ธุรการทั่วไป | ||
1. นายวิทยา? เทษาวงค์ | อสบ.เทคโนโลยีเครื่องกล | เครื่องยนต์เล็ก | ผู้ช่วยหัวหน้างานโครงการพิเศษ |
2. นายสรรเสริญ? วงค์คำหาญ | อส.บ.เทคโนโลยีไฟฟ้า | คณิตศาสตร์ไฟฟ้า | ผู้ช่วยหัวหน้างานแนะแนว |
3. นายปุณวัฒน์? ถากันหา | คบอ.วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม | เครื่องเสียงภายในอาคาร | ผู้ช่วยหัวหน้างานประชาสัมพันธ์ |
4.นายณัฐวุฒิ? หาญธงชัย | คบ.อุตสาหกรรมศิลป์ | งานเครื่องมือกลเบื้องต้น | ผู้ช่วยงานอาคารสถานที่ |
5.นายกฤษฎา? ติยะบัตร | ป.ตรี อส.บ.เทคโนโลยีเครื่องกล | ผู้ช่วยงานอาคารสถานที่ | |
6.นางสาวอภิตญา ดีโคตร | ป.ตรี | ||
7.นางสาวอนิษา? พ่อแก้ว | วท.บ. เทคโนโลยีสารสนเทศ | การบริหารเว็ปไซด์ | หัวหน้างานประกันฯ |
8.นายสุรศักดิ์? แพ่งศรีสาร | บธ.บ? การตลาด | หลักการจัดการ | หัวหน้างานปกครอง |
9.นางสาวอนุธิดา พรหมดี | ป.ตรี | ภาษาไทย | ครูหมวดวิชาทักษะชีวิต |
10.นางสาวศุทธินี อ่องแจ่ม | ป.ตรี | ภาษาอังกฤษ | ครูหมวดวิชาทักษะชีวิต |
11.นายนรังสรรค์? บัญโสภาส | คบ.สังคมศึกษา | หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม | ครูหมวดวิชาทักษะชีวิต |
12.นายกิตติศักดิ์? พิบูลย์ศักดิ์กุล | |||
13.นางสาวแพรวพรรณ? วงค์จันทร์ | |||
14.นายภุชงค์? ชนะหาญ
15.นางสาวศุภารัตน์ เทพโพธิ์ |
ป.ตรี
ป.ตรี |
|
?
เจ้าหน้าที่ จำนวน? 14? คน
ชื่อ – สกุล |
วุฒิการศึกษา |
ปฏิบัติหน้าที่ | |
สอนวิชา | สนับสนุน/ธุรการทั่วไป | ||
1.????? นางสาวมะลิจันทร์ อุปทุม |
ปวส.คอมพิวเตอร์ธุรกิจ |
– | จนท. งานพัฒนาหลักสูตรการเรียน,งานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี |
2.????? นางสาวปรียานุช บุญจู | ปวส.การบัญชี | – | จนท. งานการเงิน |
3.????? นายคมเพชร มาตราช | ปวส.การไฟฟ้า | – | จนท.งานวิจัยพัฒนา นวัตกรรม |
4.????? นางรัตนา? โง่นลุน | ปวส.บัญชี | – | จนท.งานบุคลากร |
5.????? นางสาวโลมรัตน์ วิชัยสูง | ปวส.บัญชี | – | จนท.งานบริหารทั่วไป |
6.????? นายสุรนารถ แสนบุญรัตน์ | ป.ตรี? คอมพิวเตอร์ศึกษา | – | จนท. แผนงานและความร่วมมือ |
7.? ? ? นางสาวอนุสรา ดีโคตร | – | จนท.ฝ่ายวิชาการ | |
8.????? นางสาวชุติกาณจน์ ชมภูวัฒนา | ป.ตรี ศศ.บ.สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา | – | จนท.งานบุคลากร |
9.????? นางสาวทิพวรรณ ตะดวงดี | รป.ส.รัฐประศาสนศาสตร์ | – | จนท.งานทะเบียน |
10.? นางสาวปรียานุช? อินทรบ | วทบ.เทคโนโลยีสารสนเทศ | – | จนท.งานศูนย์ข้อมูล |
11.? นางสาวรัตนาภรณ์ บุญนาง | ปวส.บัญชี | ||
12.? นายวรายุทธ? รูปคม | – | จนท.งานพัสดุ | |
13.? นายบำรุง ผลจันทร์ | จนท.งานกิจกรรมฯ | ||
14.? นางสาวอนุสรา? ดาลม | – | จนท.งานกิจกรรมฯ | |
นักการภารโรง , ยาม , พนักงานขับรถ , แม่บ้าน? รวมจำนวน? 10? คน
ชื่อ – สกุล |
วุฒิการศึกษา |
ปฏิบัติหน้าที่ | |
สอนวิชา | สนับสนุน/ธุรการทั่วไป | ||
นักการภารโรง | ? | ||
1.????? นายประสงค์ ลีพรม | ม.6 | – | นักการภารโรง |
2.????? นายวัน แก้วดวงดี | ป.4 | – | นักการภารโรง |
3.????? นายทองสุข? พรมวงศ์ | ป.6 | – | นักการภารโรง |
ยาม | |||
1.????? นายทองมาก มิตพะมา | ม.6 | – | ยาม |
2.????? นายปิยะพัน เพ็งวงษ์ | ม.6 | – | ยาม |
3.????? นายหนานชัย ปาลีรักษณ์ | – | ยาม | |
พนักงานขับรถ | |||
1.????? นายดำรง แสนงาม | ป.1 | – | พนักงานขับรถ |
2.????? นายประสิทธิ์ชัย แสงคำเรือง | ม.3 | พนีกงานขับรถ | |
แม่บ้าน | |||
1.????? นางบังอร? ทาบง
2.? ? ? นางสดับ ดีขยัน |
ป.4
|
–
|
แม่บ้าน
|
?
รายละเอียด ข้อมูลนักเรียน และประมาณค่าใช้จ่าย ประจำปีงบประมาณ 2562
- ยอดนักเรียนนักศึกษา ปีปัจจุบัน และยอดประมาณการ
- สรุปผลค่าใช้จ่ายประจำปีงบประมาณ 2562
- ยอดประมาณ รายรับ ? รายจ่าย ประจำปีงบประมาณ 2562
– งบรายได้สถานศึกษา
– งบบุคลากร
– งบดำเนินงาน
– งบลงทุน
– งบอุดหนุนฯ
– งบรายจ่ายอื่นๆ
- สรุปงบประมาณค่าใช้จ่าย ประจำปีงบประมาณ 2561
- ละเอียดค่าใช้จ่ายประจำปีงบประมาณ 2562
- จัดสรรยอดวัสดุฝึกแผนกวิชา ประจำปีงบประมาณ 2561
- ผลงานดีเด่นนักเรียนนักศึกษา
?
?
ข้อมูลพื้นฐานด้านอาชีวศึกษา
- วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายบริการสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
?????????? วิสัยทัศน์
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นองค์กรที่ผลิตและพัฒนากำลังคนอย่างมีคุณภาพเพื่อตอบสนองความต้องการกำลังคนของประเทศและภาคเอกชน
?????????? พันธกิจ
- จัดและส่งเสริมและพัฒนาการอาชีวศึกษาและการอบรมวิชาชีพให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน
- ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานกำลังคนสายอาชีพสู่สากล
- ขยายโอกาสทางการศึกษาสายอาชีพให้ทั่วถึง ต่อเนื่อง เสมอภาค และเป็นธรรม
- เป็นแกนกลางในการจัดอาชีวศึกษาและอบรมวิชาชีพ ระดับฝีมือ เทคนิค และเทคโนโลยีของประเทศ
- สร้างเครือข่ายความร่วมมือให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษา และการฝึกอบรมวิชาชีพ
- วิจัย สร้างนวัตกรรม จัดการองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาอาชีพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน
- ส่งเสริม/พัฒนา ครูและบุคลากรอาชีวศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ มั่นคง และก้าวหน้าในวิชาชีพ
??????????
เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน? ตัวชี้วัด
- นักศึกษาและบุคลากรอาชีวศึกษา ได้รับการเพิ่มขีดความสามารถและการพัฒนาให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
- ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพอย่างมีคุณภาพมาตรฐาน
- ผู้สำเร็จอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพมีคุณภาพ มาตรฐานมีงานทำและดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในสังคม
- ผลิตและพัฒนากำลังคนโดยความร่วมมือกับภาครัฐและเอกชนเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานระดับประเทศ
- นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพได้รับโอกาสศึกษาขั้นพื้นฐานตามสิทธิที่กำหนดไว้
- นักศึกษาและบุคลากรได้รับการปลูกจิตสำนึกค่านิยม ให้มีความซื่อสัตย์และมีคุณธรรม
- ผลงานวิจัยและนวัตกรรมได้รับการเผยแพร่และใช้ประโยชน์ในการพัฒนาประเทศ
?
- ยุทธศาสตร์มาตรการและโครงการสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษายุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
- ยกระดับคุณภาพผู้เรียนเข้าสู่มาตรฐานสากล
2 .เพิ่มปริมาณผู้เรียนสายอาชีพให้เพียงพอต่อความต้องการของประเทศ
3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการจัดอาชีวศึกษา
4. เพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการให้มีมาตรฐานและคุณภาพโดยใช้หลักธรรมาภิบาล
นโยบายการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
มิติที่ 1 การสร้างโอกาสทางการศึกษา ?เรียนฟรีมีงานทำ มีรายได้ระหว่างเรียน?
1.1 พัฒนาศูนย์อบรมอาชีวศึกษา
1.2 เทียบโอนประสบการณ์สายอาชีพจบปวช. ได้ใน 8 เดือน
1.3 จัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษา
1.4 จัดตั้งและขยายศูนย์ซ่อมสร้าง เพื่อชุมชนFix It Center
1.5 ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน สนับสนุน OTOP
1.6 ขยายให้มีผู้เรียนอาชีวศึกษาเพิ่มขึ้น
1.7 ลดการออกกลางคัน
1.8 ขยายโอกาสในการศึกษาด้านอาชีวศึกษาถึงระดับปริญญาตรีสายปฏิบัติการ
1.9 สอนวิชาชีพ เพื่อคนพิการในสถานศึกษา
1.10 สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่อนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.11 จัดอาชีวศึกษาและพัฒนาอาชีพ สร้างงานสร้างรายได้ในกลุ่มพื้นที่ชายแดนภาคใต้
มิติที่ 2 การพัฒนาคุณภาพ ?ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน ปฏิรูปการสอบ ให้ทันกับยุคสมัยอย่างมีคุณภาพ?
ด้านคุณภาพผู้เรียน
2.1 เร่งยกระดับคุณภาพผู้เรียนให้พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
2.2 ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
2.3 ปรับปรุงหลักสูตรอาชีวศึกษาทุกระดับ
2.4 ยกระดับคุณภาพผู้เรียน โดยอิงผลการประเมินระดับชาติ (V – Net) และการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
2.5 พัฒนาแนวทางการประเมินผู้เรียนตามสภาพจริง
2.6 ร่วมมือกับภาคเอกชน ในการเรียนการสอน และฝึกงานในสถานประกอบการ
2.7 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้วยกิจกรรมองค์การวิชาชีพ การบริการสังคม จิตอาสาและกีฬา
ด้านคุณภาพสถานศึกษา
2.8 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน
2.9 ยกระดับมาตรฐานสถานศึกษา โดยอิงผลการประเมินของ สมศ.ด้านคุณภาพการเรียนการสอน
2.10 วิจัยปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาระบบการเรียนรู้สู่การเป็นผู้ประกอบการ
2.11 ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมของผู้เรียนและผู้สอน
2.12 ส่งเสริมนวัตกรรม การจัดการอาชีวศึกษา
– โรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(Project Based Learning และการประดิษฐ์คิดค้น)
– วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด (Constructionism)
– วิทยาลัยการท่องเที่ยวถลาง
2.13 จัดการเรียนการสอน English Programและ Mini English Program ด้านอาชีวศึกษา
2.14 นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อการเรียนการสอน
ด้านคุณภาพครู
2.15 กำ หนดมาตรฐานสมรรถน ะครูอาชีวศึกษา
2.16 พัฒนาครู โดยใช้เครือข่าย/สมาคมวิชาชีพ
2.17 พัฒนาระบบนิเทศภายใน
2.18 เร่งยกระดับวิทยฐานะ
มิติที่ 3 การสร้างประสิทธิภาพในด้านการบริหารจัดการ ?การบริหารจัดการเป็นที่ยอมรับเชื่อมั่น มีเอกภาพ ใช้เทคโนโลยีสนับสนุน?
3.1 พัฒนาระบบฐานข้อมูล สนับสนุนการวางแผนและการพัฒนาคุณภาพ
3.2 นำระบบ ICT มาใช้เพื่อการบริหารจัดการ
3.3 บริหารงานบุคคล โดยใช้หลักธรรมาภิบาล
– ดูแ ลและแก้ปัญหา ครูจ้า งสอนและใบประกอบวิชาชีพ
– สร้างขวัญ กำลังใจ และจิตสำนึกในความเป็นเจ้าขององค์กร
3.4 ป้องกัน และแก้ปัญหายา เสพติดในสถานศึกษา
3.5 จัดสรรงบประ มา ณ/ ทรัพยา กรอย่างเหมาะสม
– ครุภัณฑ์มาตรฐานขั้นพื้นฐาน
– สถานศึกษาขนาดเล็ก
3.6 กระจายอำนาจการบริหารงบประมาณ
มิติที่ 4 ความร่วมมือในการจัดการอาชีวศึกษา?เพิ่มทักษะวิชาชีพ ด้วยความร่วมมือในและต่างประเทศ?
4.1 จัดตั้งกองทุนอาชีวศึกษาเพื่อการพัฒนาและฝึกอบรมวิชาชีพ
4.2 เพิ่มการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีทุกระดับ ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ทั้งในและต่างประเทศ
4.3 ขยายความร่วมมือกับภาครัฐและเอกชนในรูปแบบต่างๆ ในการพัฒนานักศึกษา พัฒนาครูพัฒนาการเรียนการสอน
4.4 ร่วมกับประเทศในอาเซียน พัฒนาคุณภาพการอาชีวศึกษา
?????????? มาตรการ
- ส่งเสริมศักยภาพสถานศึกษา
- การจัดการศึกษาระบบทวิภาคี
- ปฏิรูปการเรียนการสอน
- ปฏิรูปสื่อและหลักสูตร
- ระเบียบวินัย ความภาคภูมิใจในชาติ
- ทุนและเงินสนับสนุนการศึกษา
- การสร้างและกระจายโอกาส
- สร้างความร่วมมือกับภาคเอกชนในทุกระดับ
- สร้างเครือข่ายความร่วมมือในระดับภูมิภาคอาเซียนและต่างประเทศ
- พัฒนาระบบบริหารจัดการ
- ส่งเสริมสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
โครงการ
- ผลงานวิจัยเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี (เงินอุดหนุนโครงการเสริมสร้างนวัตกรรมการพัฒนาเทคโนโลยี สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และหุ่นยนต์อาชีวศึกษา)
- ผลงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ (เงินอุดหนุนโครงการวิจัยและพัฒนาอาชีวศึกษา
เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม)
- โครงการส่งเสริมงานวิจัยพัฒนานโยบายและวิจัยองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาอาชีวศึกษา
- เงินอุดหนุนนักเรียนอาชีวศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนในชนบท (อศ.กช.)
- เงินอุดหนุนทุนการศึกษาเฉลิมราชกุมารี
- โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- เงินอุดหนุนค่าบำรุงสมาชิกวิทยาลัยนักบริหารการศึกษาช่างเทคนิคแผนโคลัมโบ
- เงินอุดหนุนการฝึกอบรมเกษตรระยะสั้น
- เงินอุดหนุนองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทยในบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อกท.)
- เงินอุดหนุนกิจกรรมองค์การวิชาชีพอุตสาหกรรม
- เงินอุดหนุนโครงการทางไกลผ่านดาวเทียมวังไกลกังวล
- เงินอุดหนุนการหารายได้ระหว่างเรียนของนักเรียนนักศึกษาที่ยากจน
- เงินอุดหนุนกิจกรรมองค์การวิชาชีพพาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ อำนวยการและอาชีพเฉพาะทาง
- เงินอุดหนุนทุนการศึกษาต่อระดับปริญญาตรีสายปฏิบัติการ
- โครงการวิทยาลัยเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์
- โครงการโรงเรียนพระราชทานวิทยาลัยกำปงเฌอเตียล ราชอาณาจักรกัมพูชา
- โครงการความร่วมมือกับต่างประเทศเพื่อพัฒนาอาชีวศึกษาไทยของประเทศไทย
- จัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษา
- โครงการรณรงค์ ป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE)
- โครงการขยายบทบาทศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it Center)
- โครงการพัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้
- โครงการส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระในกลุ่มผู้เรียนอาชีวศึกษา
- โครงการศูนย์ฝึกอบรมอาชีพในสถานศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพประชาชน
- โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
- โครงการเพิ่มขีดความสามารถทางภาษาสำหรับนักเรียนนักศึกษาอาชีวะ
- โครงการสร้างเสริมคุณภาพสถานศึกษาขนาดเล็ก ให้ได้มาตรฐานอาชีวศึกษา
- โครงการลดปัญหาการออกกลางคันของผู้เรียนอาชีวศึกษา
- โครงการความร่วมมือในการฝึกงานนักเรียนนักศึกษาอาชีวศึกษาในต่างประเทศ
- โครงการส่งเสริมทักษะวิชาชีพเพื่อเป็นมืออาชีพและความเป็นเลิศนักศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อสร้างทุนปัญญาชาติ
- โครงการขยายอาชีวะอำเภอ
- โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ในสถานศึกษา
- โครงการส่งเสริมการปฏิรูปอาชีวศึกษาเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนด้วยคุณภาพและมาตรฐานให้มีสมรรถนะและความพร้อมเพื่อเข้าสู่ตลาดแรงงาน
- โครงการขยายโอกาสการศึกษาวิชาชีพและพัฒนาคุณภาพการจัดหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นเพื่อพัฒนาอาชีพประชาชน
- โครงการผลิต พัฒนา เสริมสร้างคุณภาพชีวิตครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
- โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนและการบริหารจัดการอาชีวศึกษาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- โครงการอาชีวศึกษาพัฒนา
- โครงการสร้างค่านิยมอาชีวศึกษา
- โครงการศูนย์ความชำนาญวิชาชีพเฉพาะทาง
- โครงการยกระดับคุณภาพการจัดอาชีวศึกษาทวิภาคี
- โครงการปฏิรูปการสอนภาษาไทย ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง
- โครงการยกระดับมาตรฐานทักษะพื้นฐานอาชีพ
- โครงการอาชีวศึกษามาตรฐานสากล
- เร่งประสิทธิภาพการสอนของครูอาชีวศึกษา
44? จัดหาบุคลากรสนับสนุนเพื่อคืนครูให้นักเรียน
- โครงการความร่วมมือในการผลิตและพัฒนากำลังคนให้มีคุณภาพและมาตรฐานเชื่อมโยงอุตสาหกรรมเป้าหมายให้สอดคล้องความต้องการตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ
?
- นโยบาย ยุทธศาสตร์ ที่เกี่ยวข้อง
นโยบายรัฐบาล ?11 ด้าน คือ
?????????? 1) ?การปกป้องเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์
?????????? 2) ?การรักษาความมั่นคงของประเทศ
?????????? 3) ?การลดความเหลื่อมล้ำของสังคมและการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ
?????????? 4) ?การศึกษาและเรียนรู้ การทะนุบำรุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
?????????? 5) ?การยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุข และสุขภาพของประชาชน
?????????? 6) ?การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ
?????????? 7) ?การส่งเสริมบทบาทและใช้โอกาสในประชาคมอาเซียน
?????????? 8) ?การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรม
?????????? 9) ?การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร และการสร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์กับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
?????????? 10) ?การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาลและการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ
?????????? 11) ?ปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
?
นโยบายรัฐบาลด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
- จัดให้มีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ โดยให้ความสำคัญทั้งการศึกษาในระบบและการศึกษาทางเลือกไปพร้อมกัน เพื่อสร้างคุณภาพของคนไทยให้สามารถเรียนรู้ พัฒนาตนได้เต็มตามศักยภาพประกอบอาชีพและดำรงชีวิตได้โดยมีความใฝ่รู้และทักษะที่เหมาะสม เป็นคนดีมีคุณธรรมสร้างเสริมคุณภาพการเรียนรู้ โดยเน้นการเรียนรู้เพื่อสร้างสัมมาชีพในพื้นที่ ลดความเหลื่อมล้ำ และพัฒนากำลังคนให้เป็นที่ต้องการเหมาะสมกับพื้นที่ ทั้งในด้านการเกษตร อุตสาหกรรมและธุรกิจบริการ
- ในระยะเฉพาะหน้า จะปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการศึกษาให้สอดคล้องกับความจำเป็นของผู้เรียนและลักษณะพื้นที่ของสถานศึกษา และปรับปรุงและบูรณาการระบบการกู้ยืมเงิน
เพื่อการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ เพื่อเพิ่มโอกาสแก่ผู้ยากจนหรือด้อยโอกาส จัดระบบการสนับสนุนให้เยาวชนและประชาชนทั่วไปมีสิทธิเลือกรับบริการการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียนโดยจะพิจารณาจัดให้มีคูปองการศึกษาเป็นแนวทางหนึ่ง
- ให้องค์กรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนทั่วไป
มีโอกาสร่วมจัดการการศึกษาที่มีคุณภาพและทั่วถึง และร่วมในการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ กระจาย อำนาจการบริหารจัดการศึกษาสู่สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามศักยภาพและความพร้อม โดยให้สถานศึกษาสามารถเป็นนิติบุคคลและบริหารจัดการได้อย่างอิสระและคล่องตัวขึ้น
- พัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อให้สามารถมีความรู้และทักษะใหม่ที่สามารถประกอบอาชีพได้หลากหลายตามแนวโน้มการจ้างงานในอนาคต ปรับกระบวนการเรียนรู้และหลักสูตรให้เชื่อมโยงกับภูมิสังคม โดยบูรณาการความรู้และคุณธรรมเข้าด้วยกันเพื่อให้เอื้อต่อการพัฒนาผู้เรียนทั้งในด้านความรู้ ทักษะ การใฝ่เรียนรู้ การแก้ปัญหา การรับฟังความเห็นผู้อื่น การมีคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมืองดี โดยเน้นความร่วมมือระหว่างผู้เกี่ยวข้องทั้งในและนอกโรงเรียน
- ส่งเสริมอาชีวศึกษาและการศึกษาระดับวิทยาลัยชุมชน เพื่อสร้างแรงงานที่มีทักษะโดยเฉพาะในท้องถิ่นที่มีความต้องการแรงงาน และพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาให้เชื่อมโยงกับมาตรฐานวิชาชีพ
- ?พัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูที่มีคุณภาพและมีจิตวิญญาณของความเป็นครู เน้นครูผู้สอนให้มีวุฒิตรงตามวิชาที่สอน นำเทคโนโลยีสารสนเทศและเครื่องมือที่เหมาะสมมาใช้ในการเรียน
การสอน เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยครูหรือเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง เช่น การเรียนทางไกล การเรียนโดยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น รวมทั้งปรับระบบการประเมินสมรรถนะที่สะท้อนประสิทธิภาพการจัดการเรียน
การสอนและการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเป็นสำคัญ
- ทะนุบำรุงและอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาและศาสนาอื่นๆ สนับสนุนให้องค์กรทางศาสนามีบทบาทสำคัญในการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างสันติสุขและความปรองดองสมานฉันท์ในสังคมไทยอย่างยั่งยืน และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมตามความพร้อม
- ?อนุรักษ์ ฟื้นฟู และเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรม ภาษาไทยและภาษาถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมทั้งความหลากหลายของศิลปวัฒนธรรมไทย เพื่อการเรียนรู้ สร้างความภาคภูมิใจในประวัติศาสตร์และความเป็นไทย นำไปสู่การสร้างความสัมพันธ์อันดีในระดับประชาชน ระดับชาติระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ ตลอดจนเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศ
- สนับสนุนการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้านและวัฒนธรรมสากล และการสร้างสรรค์งานศิลปะและวัฒนธรรมที่เป็นสากล เพื่อเตรียมเข้าสู่เสาหลักวัฒนธรรม ของประชาคมอาเซียนและเพื่อการเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมโลก
- ?ปลูกฝังค่านิยมและจิตสำนึกที่ดี รวมทั้งสนับสนุนการผลิตสื่อคุณภาพ เพื่อเปิดพื้นที่สาธารณะให้เยาวชนและประชาชนได้มีโอกาสแสดงออกอย่างสร้างสรรค์
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 ? 2564)
การพัฒนาประเทศไทยในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐- ๒๕๖๔) อยู่ในห้วงเวลาของการปฏิรูปประเทศเพื่อแก้ปัญหาพื้นฐานหลายด้านที่สั่งสมมานานท่ามกลาง สถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็วและเชื่อมโยงกันใกล้ชิดมากขึ้น การแข่งขันด้านเศรษฐกิจจะเข้มข้นมากขึ้น สังคมโลกจะมีความเชื่อมโยงใกล้ชิดกันมากขึ้นเป็นสภาพไร้พรมแดน การพัฒนาเทคโนโลยีจะมีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วและจะกระทบชีวิตความเป็นอยู่ในสังคมและการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจอย่างมาก ขณะที่ ประเทศไทยมีข้อจำกัดของปัจจัยพื้นฐานเชิงยุทธศาสตร์เกือบทุกด้านและจะเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา ที่ชัดเจนขึ้น ช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๒ นับเป็นจังหวะเวลาที่ท้าทายอย่างมากที่ประเทศไทยต้องปรับตัว ขนานใหญ่ โดยจะต้องเร่งพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรมให้เป็นปัจจัยหลัก ในการขับเคลื่อนการพัฒนาในทุกด้านเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยท่ามกลาง การแข่งขันในโลกที่รุนแรงขึ้นมากแต่ประเทศไทยมีข้อจำกัดหลายด้าน อาทิคุณภาพคนไทยยังต่ำแรงงาน ส่วนใหญ่มีปัญหาทั้งในเรื่ององค์ความรู้ ทักษะ และทัศนคติ สังคมขาดคุณภาพและมีความเหลื่อมล้ำสูงที่เป็น อุปสรรคต่อการยกระดับศักยภาพการพัฒนา โครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมสูงวัยส่งผลให้ขาดแคลนแรงงาน จำนวนประชากรวัยแรงงานลดลงตั้งแต่ปี ๒๕๕๘ และโครงสร้างประชากรจะเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ ภายในสิ้นแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๒ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมก็ร่อยหรอเสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นทั้งต้นทุนในเชิงเศรษฐกิจและผลกระทบร้ายแรงต่อคุณภาพชีวิตประชาชน ในขณะที่การบริหารจัดการ ภาครัฐยังด้อยประสิทธิภาพ ขาดความโปร่งใส และมีปัญหาคอร์รัปชันเป็นวงกว้าง จึงส่งผลให้การผลักดัน ขับเคลื่อนการพัฒนาไม่เกิดผลสัมฤทธิ์เต็มที่ บางภาคส่วนของสังคมจึงยังถูกทิ้งอยู่ข้างหลัง
วิสัยทัศน์ อยู่ในช่วง (พ.ศ. 2560 ? 2564) สู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
กรอบวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
ให้ความสำคัญกับการกำหนดทิศทางการพัฒนาที่มุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทยจากประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง มีความมั่นคง และยั่งยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
กรอบวิสัยทัศน์และเป้าหมาย
- กรอบวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จากสถานะของประเทศและบริบทการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่ประเทศกำลังประสบอยู่ทำให้การกำหนดวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยังคงมีความต่อเนื่องจากวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 และ กรอบหลักการของการวางแผนที่น้อมนำและประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม การพัฒนาที่ยึดหลักสมดุล ยั่งยืน
โดยวิสัยทัศน์ของการพัฒนาในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ต้องให้ความสำคัญกับการกำหนดทิศทางการพัฒนาที่มุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทยจากประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง มีความมั่นคง และยั่งยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข และนำไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ระยะยาว ?มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน? ของประเทศ
- การกำหนดตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ของประเทศ (Country Strategic Positioning) เป็นการกำหนดตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ของประเทศที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติที่สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ(สศช.) ได้จัดทำขึ้น ประเทศไทยเป็นประเทศรายได้สูงที่มีการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม เป็นศูนย์กลางด้านการขนส่งและโลจิสติกส์ของภูมิภาคสู่ความเป็นชาติการค้าและบริการ (Trading and Service Nation) เป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัย แหล่งอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และมีนวัตกรรมสูงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
เป้าหมาย
- การหลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลางสู่รายได้สูง
- การพัฒนาศักยภาพคนให้สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศและการสร้าง สังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ
- การลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
- การสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- การบริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพ
วางรากฐานการพัฒนาประเทศไปสู่สังคมที่มีความสุขอย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ได้กำหนดเป้าหมาย ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ 5 ปี ซึ่งจะเป็นแผนที่มีความสำคัญในการวางรากฐานการพัฒนาประเทศไปสู่สังคมที่มีความสุขอย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน สอดคล้องตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่เป็นกรอบการพัฒนาประเทศในระยะยาว
รัฐบาลมีนโยบายในการสร้างความมั่นคงและเข้มแข็งให้กับระบบเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งเร่งสร้างสังคมที่มีคุณภาพ โดยการขจัดอุปสรรคต่าง ๆ ที่มีต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม ตลอดจนการวางแผนการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ในระยะยาว ครอบคลุมถึงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การสร้างความมั่นคง มั่งคั่งทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เป็นสิ่งสำคัญที่ประเทศจะต้องมีทิศทางและเป้าหมายการพัฒนาระยะยาวที่ชัดเจน โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมมือกันอย่างเข้มแข็ง เพื่อผลักดันให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างต่อเนื่อง และสอดรับกับการปฏิรูปประเทศที่มุ่งสู่ความ ?มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน? ในอนาคต
?
แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2560-2579)
?????????? 1) ?วิสัยทัศน์ ?คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิต อย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของ โลกศตวรรษที่ ๒๑? โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา ๔ ประการ คือ
๑) เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ
๒) เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดีมีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติและยุทธศาสตร์ชาติ
๓) เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณธรรม จริยธรรม?? รู้รักสามัคคีและ ร่วมมือผนึกกำลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๔) เพื่อนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล้ำ ภายในประเทศลดลง
?????????? 2) ?เป้าหมายของการจัดการศึกษา (Aspirations) ๕ ประการ
ซึ่งมีตัวชี้วัดเพื่อการบรรลุเป้าหมาย ๕๓ ตัวชี้วัด ประกอบด้วย เป้าหมายและตัวชี้วัดที่สำคัญ ดังนี้
๑) ประชากรทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพและมีมาตรฐานอย่างทั่วถึง (Access)
๒) ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน อย่างเท่าเทียม (Equity)
๓) ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถ เต็มตามศักยภาพ (Quality)
๔) ระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการลงทุนทางการศึกษาที่ คุ้มค่าและบรรลุเป้าหมาย (Efficiency)
๕) ระบบการศึกษาที่สนองตอบและก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นพลวัตและ บริบทที่เปลี่ยนแปลง (Relevancy)
? ? ? ? ? ?3) ?แนวคิดการจัดการศึกษา
แนวคิดการจัดการศึกษา (Conceptual Design) ตามแผนการศึกษาแห่งชาติยึดหลักสำคัญ ในการจัดการศึกษา ประกอบด้วย
- หลักการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน (Education for All)
- หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียมและทั่วถึง (Inclusive Education)
- หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy)
- หลักการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม (All for Education)
- ยึดตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SustainableDevelopment Goals : SDGs 2030)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2560 ? 2564
- งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จำแนกตาม ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ได้กำหนดไว้จำนวน 6 ยุทธศาสตร์ 1 รายการ มีรายละเอียด การดำเนินงานที่สำคัญสรุปได้ดังนี้
๑. หลักการของแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ?ฉบับที่ ?๑๒? ? (พ.ศ.๒๕๖๐ ?๒๕๖๔) การที่จะพัฒนาประเทศไทยไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ให้เกิดขึ้นในอนาคตนั้น จะต้องให้ความสำคัญกับการเสริมสร้างทุนของประเทศที่มีอยู่ให้เข้มแข็งและมีพลังเพียงพอในการขับเคลื่อนกระบวนการการพัฒนาทั้งในระยะกลางและระยะยาว โดยเฉพาะ ?การพัฒนาคน?ให้มีการเตรียมความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งมีสิ่งที่สำคัญที่สุดคือทักษะการเรียนรู้และการเสริมสร้างปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพของคน โดยการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มาประยุกต์ใช้ทั้งในเชิงระบบและโครงสร้างของสังคมไทยให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น? แต่ที่ผ่านมา ประเทศไทยไม่ได้มีการกำหนดวิสัยทัศน์ประเทศ เป้าหมายและยุทธศาสตร์ของประเทศในระยะยาว เมื่อมีการเปลี่ยนรัฐบาลก็ทำให้นโยบายขาดความต่อเนื่อง การพัฒนาจึงเกิดภาวะหยุดชะงักหรือชะลอตัว ถือเป็นการสูญเสียโอกาสและสิ้นเปลืองทรัพยากรประเทศ ดังนั้น เพื่อเป็นการปฏิรูประบบบริหารราชการแผ่นดินของประเทศไทยให้มีเป้าหมายการพัฒนาประเทศในระยะยาว และเพื่อเป็นการกำหนดให้ฝ่ายบริหารมีความรับผิดชอบที่จะต้องขับเคลื่อนประเทศไปสู่เป้าหมายที่เป็นที่ยอมรับร่วมกันและเป็นเอกภาพ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๙ อันเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ จึงได้กำหนดให้รัฐต้องจัดทำ ?ยุทธศาสตร์ชาติ?เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนต่างๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน โดยภายใต้ยุทธศาสตร์ชาตินี้ ประเทศไทยต้องปฏิรูปและปรับเปลี่ยนอย่างเป็นระบบขนานใหญ่ เพื่อให้โครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเหมาะสมกับสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกที่สำคัญในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐ -๒๕๖๔) และต่อเนื่องสู่แผนพัฒนาฯ ฉบับต่อๆ ไปนั้น ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้ยึดยุทธศาสตร์ชาติมาเป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องกันไปตลอด ๒๐ ปี นอกจากนี้ ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ในฐานะหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการจัดทำแผนการศึกษาระดับชาติในระยะยาว ก็ได้พิจารณานำกรอบแนวทางการดำเนินงานยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี มาใช้ประกอบการพิจารณาจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๖๐ -๒๕๗๔ ด้วยเช่นกัน เพื่อให้เกิดการบูรณาการเชื่อมโยงไปในทิศทางเดียวกันกับแนวทางการพัฒนาการเรียนรู้สำหรับพลเมืองทุกช่วงวัย ตั้งแต่แรกเกิดไปจนตลอดชีวิต??? ดังนั้น ในการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ ๑๒(พ.ศ.๒๕๖๐ -๒๕๖๔) นอกจากจะคำนึงถึงสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับสังคมไทยภูมิภาคอาเซียนและสังคมโลก ที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาคน รวมทั้งกฎหมายที่สำคัญต่อการจัดการศึกษาของประเทศ และมีผลให้อำนาจหน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการปรับเปลี่ยนไปจากเดิมแล้ว กระทรวงศึกษาธิการได้ยึดกรอบหลักการที่สำคัญอันได้แก่
๑) ยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๐ -๒๕๗๙)
๒) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐ -๒๕๖๔) และ ๓) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ?๒๕๗๔ มาวิเคราะห์เพื่อกำหนดเป้าหมายการพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการและแนวทางให้สามารถขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมายดังกล่าวได้อย่างเป็นรูปธรรม
๒. สาระสำคัญของยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ปี (พ.ศ.๒๕๖๐ -๒๕๗๙)ภายใต้บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๙ มาตรา ๖๕ ได้กำหนดให้มี ?ยุทธศาสตร์ชาติ?เพื่อเป็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศในระยะยาว พร้อมกับการปฏิรูปและการพัฒนาระบบและกลไกการบริหารราชการแผ่นดินในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ให้สามารถนำไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง ซึ่งจะช่วยยกระดับคุณภาพของประเทศไทยในทุกภาคส่วนและนำพาประเทศไทยให้หลุดพ้นหรือบรรเทาความรุนแรงของสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ทั้งปัญหาทางเศรษฐกิจ ปัญหาความเหลื่อมล้ า ปัญหาการทุจริตคอรัปชั่น และปัญหาความขัดแย้งในสังคมรวมถึงสามารถรับมือกับภัยคุกคามและบริหารจัดการความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตและสามารถเปลี่ยนผ่านประเทศไปพร้อมๆ กับการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ใหม่ของโลกได้ ซึ่งจะทำให้ประเทศไทยยังคงรักษาบทบาทสำคัญของเวทีโลก สามารถดำรงรักษาความเป็นชาติให้มีความมั่นคง และคนไทยในประเทศมีความอยู่ดีมีสุขอย่างถ้วนหน้ากัน? สาระสำคัญของยุทธศาสตร์ชาติ จะประกอบด้วย วิสัยทัศน์และเป้าหมายของชาติที่คนไทย? ทุกคนต้องบรรลุร่วมกัน รวมทั้งนโยบายแห่งชาติและมาตรการเฉพาะ ซึ่งเป็นแนวทาง ทิศทาง และวิธีการที่ทุกองค์กรและคนไทยทุกคนต้องมุ่งดำเนินการไปพร้อมกันอย่างประสานสอดคล้อง เพื่อให้บรรลุซึ่งสิ่งที่คนไทยทุกคนต้องการ คือ ?ประเทศไทยมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ในทุกสาขากำลังอำนาจของชาติ?อันได้แก่
การเมืองภายในประเทศ การเมืองต่างประเทศ เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา การศึกษา การทหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีและการสื่อสาร ดังนี้วิสัยทัศน์: ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการ: เชิดชูสถาบัน ประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นฐานในการพัฒนาประเทศ และค่านิยมความเป็นไทยเพื่อสร้างความปรองดอง ซึ่งมีองค์ประกอบคือ? ๑) แนวคิด : เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของคนไทย และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยเพื่อความมั่นคง๒) คุณลักษณะ : เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นเป็นตอน? ๓)คำนิยาม :ความพอเพียงประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ ได้แก่ ความพอประมาณคือความพอดีที่ไม่น้อยหรือมากเกินไป ความมีเหตุมีผล คือการตัดสินใจโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัย และคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว คือการเตรียมพร้อมรับผลกระทบและความเปลี่ยนแปลงที่คาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต? ๔) เงื่อนไข : การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน ๒ เงื่อนไข ได้แก่ เงื่อนไขความรู้ อันประกอบด้วยความรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะใช้ความรู้นั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกันเพื่อประกอบการวางแผน มีความระมัดระวังในขั้นตอนการปฏิบัติ และเงื่อนไขคุณธรรมอันประกอบด้วย มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำรงชีวิต? ?วัตถุประสงค์:
๑) เพื่อสร้างความปรองดองสมานฉันท์
๒) เพื่อเพิ่มกระจายโอกาสและคุณภาพการให้บริการของรัฐอย่างทั่วถึง เท่าเทียม เป็นธรรม
๓) เพื่อลดต้นทุนให้ภาคการผลิตและบริการ
๔) เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม และบริการด้วยนวัตกรรมยุทธศาสตร์หลัก:
๑) ยุทธศาสตร์สร้างความมั่นคงให้กับประเทศ
๒) ยุทธศาสตร์สร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
๓) ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
๔) ยุทธศาสตร์สร้างโอกาสบนความเสมอภาคและความเท่าเทียมกันทางสังคม
๕) ยุทธศาสตร์การเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
๖) ยุทธศาสตร์การปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ด้านความมั่นคง
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ด้านกำรสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 : ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
ยุทธศาสตร์ที่ 4 : ด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมลำ และสร้างการเติบโตจากภายใน
ยุทธศาสตร์ที่ 5 : ด้านการจัดการนำและสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ที่ 6 : ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ